Date:
September 25, 19
การคิดคำนวณค่าระวางสินค้าสำหรับการขนส่งทางทะเลแบบ สินค้าไม่เต็มตู้ หรือที่เราเรียกกันว่า LCL และการคำนวณ dimension ของตัวสินค้า (CBM)
LCL (LESS THAN CONTAINER LOAD) หมายถึง การขนส่งสินค้าแบบไม่เต็มตู้ ซึ่งทางตัวแทนหรือ freight forwarder จะทำการซื้อค่าระวางทางเรือกับทางสายเรือแบบเหมาตู้ จะเป็นขนาด 20 ฟุตหรือ ขนาด 40 ฟุต แล้วมาเปิดตู้แบ่งขายปลีกให้กับผู้ส่งออก ซึ่งการคำนวณค่าระวาง จะคิดราคาเป็นแบบต่อ ลูกบาศก์เมตร (CBM) คือคิดตามขนาดของสินค้านั้นเอง โดยจะนำ ความกว้าง x ความยาว x ความสูงของสินค้า จะเป็นขนาด ต่อ น้ำหนัก 1,000 กิโลกรัม หรือ ต่อตันนั้นเอง (Per CBM Per Ton)
สูตรหารคำนวณ (cms) : กว้าง x ยาว x สูง / 1,000,000 = ปริมาตรสินค้าโดยมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร (M3 หรือ CBM)
**ตัวอย่าง
= 2 x (150 x 200 x 100 cms) / 1,000,000 = 6 CBM
เพราะฉะนั้นจะต้องจ่ายค่าระวางทางเรือทั้งหมด 6 CBM x USD 15 = USD 90
LCL (LESS THAN CONTAINER LOAD) หมายถึง การขนส่งสินค้าแบบไม่เต็มตู้ ซึ่งทางตัวแทนหรือ freight forwarder จะทำการซื้อค่าระวางทางเรือกับทางสายเรือแบบเหมาตู้ จะเป็นขนาด 20 ฟุตหรือ ขนาด 40 ฟุต แล้วมาเปิดตู้แบ่งขายปลีกให้กับผู้ส่งออก ซึ่งการคำนวณค่าระวาง จะคิดราคาเป็นแบบต่อ ลูกบาศก์เมตร (CBM) คือคิดตามขนาดของสินค้านั้นเอง โดยจะนำ ความกว้าง x ความยาว x ความสูงของสินค้า จะเป็นขนาด ต่อ น้ำหนัก 1,000 กิโลกรัม หรือ ต่อตันนั้นเอง (Per CBM Per Ton)
สูตรหารคำนวณ (cms) : กว้าง x ยาว x สูง / 1,000,000 = ปริมาตรสินค้าโดยมีหน่วยเป็นลูกบาศก์เมตร (M3 หรือ CBM)
**ตัวอย่าง
- มีสินค้าทั้งหมดอยู่ 2 กล่อง ขนาด 150 x 200 x 100 ซม. โดยน้ำหนักรวมของทั้ง 4 กล่องชั่งได้อยู่ที่ (GROSS WEIGHT) 600 กก.
- ค่าอัตราระวางของการข่นส่งสินค้าจากประเทศไทย (กรุงเทพ) ไปสิงโปรค์ ลูกบาศก์เมตร ละ 15 USD
= 2 x (150 x 200 x 100 cms) / 1,000,000 = 6 CBM
เพราะฉะนั้นจะต้องจ่ายค่าระวางทางเรือทั้งหมด 6 CBM x USD 15 = USD 90